Huawei Controller
ก่อนจะ Config ตาม Manual นี้ ต้องทำการสร้าง AP Group และ Add AP เข้า Controller ให้เรียบร้อยก่อนนะครับ
Network Diagram ตัวอย่าง
ตั้งค่า Vlan Interface
Create Vlan Interface ขึ้นมา 2 Vlan คือ Vlan10 IP 192.168.10.100/24 และ Vlan40 IP 192.168.40.1/24
ใส่ IP ให้กับแต่ละ Vlan ตาม Diagram ให้ครบทั้ง 2 Vlan วิธีทำตามภาพเลยครับ
หากทำครบทั้ง 2Vlan แล้วจะขึ้นดังรูปนี้
Config DHCP Server ของ Vlan40 เพื่อแจก IP ให้กับ Client
Import Certification
Upload Certificate file เข้าไปใน Router ตัวอย่างจะใช้ไฟล์นามสกุล .p12
Certificate name: ตั้งชื่อ
Certificate type: เลือก Type CA
Certificate format: P12
Certificate file: เลือกไฟล์ Certificate ที่เป็นไฟล์นามสกุล .p12
Certificate password: ใส่ passsword ของไฟล์ Certificate
จากนั้นกด OK
Create Profile SSL
SSL policy name: ตั้งชื่อ
SSL policy type: เลือก Server
Certificate Name: เลือกชื่อ Certificate ที่ Uplpad ไปก่อนหน้านี้
จากนั้นกด OK
ไปที่ Menu Config Wizard > AC
จากนั้นตั้งค่า Time Zone และเลือก System time เป็น Automatic จากนั้นใส่ IP ของ NTP Server แล้วกด Next
Port Configuration
หากไม่ได้ใช้ Ether Trunk ให้กด Next ไปได้เลย
Network Interconnection Configuration
เลือก Interface LAN สำหรับ Captive Portal ในตัวอย่างจะใช้ Interface Vlanif40
เลื่อนลงมาด้านล้าง Menu Static Route Table กด Create
เป็นการ Config Default route ให้ Controller ออก Internet ได้ ในตัวอย่างต้องการให้ Client ออก Internet ที่ Interface Vlanif10 ซึ่ง Gatewaey ของ Vlanif10 คือ 192.168.10.101 หากเสร็จแล้วกด Next ได้เลย
AC Backup Configuration
หากไม่ต้องการใช้งาน VRRP กด Next ไปได้เลย
AC Source Address
เป็นการตั้งค่า vlan manage controller
ตัวอย่างนี้ต้องการให้ Vlanif10 เป็น Vlan Manage
Confirm Setting
กด Finish เพื่อใช้งาน Config
ตั้งค่า Captive Portal
Create SSID Profile สำหรับ Captive Portal วิธีทำตามภาพเลยครับ
VAP profile name: ตั้งชื่อ VAP
WLAN ID: ใส่ WLAN ID
Forwarding mode: เลือก Tunnel
Service VLAN ID: ใส่ Vlan ID ของ Interface LAN ในตัวอย่างจะให้ VLAN40 เป็นขา LAN
ตั้งค่า SSID Profile
เลือก Profile ที่เราสร้างขึ้นมาก่อนหน้านี้ จากนั้นกดเครื่องหมาย + เลือก SSID Profile และกด Create
ตั้งชื่อ SSID Profile *อันนี้คือชื่อ ssid profile นะครับ ไม่ใช่ชื่อ SSID
ตรง *SSID Profile ให้เราเลือก Profile SSID ที่เรา Create ไปก่อนหน้านี้
*SSID Profile: ตั้งชื่อ SSID
ตั้งค่า Authentication Profile
ตั้งชื่อ Profile
ตั้งค่าตามภาพตัวอย่าง
ตั้งค่า External Portal
เลื่อนลงมาด้านล่าง แล้วตั้งค่าตามภาพ จากนั้นกด OK
จะกลับมายังหน้านี้ให้เลือก ชื่อ portal ที่สร้างไว้ก่อนหน้านี้แล้วกด OK
ตรวจสอบว่าชื่อตรงไหม หลังจากนั้นกด Apply
RADIUS Server Profile ให้กด Create
Profile name: ตั้งชื่อ Profile
Mode: เลือก Active/Standby mode
NAS IP address: เลือกตามภาพ
Profile default shared key: ใส่ password radius server
กด Create Server
ตั้งค่าตามภาพ จากนั้นกด OK
กลับมาหน้านี้ให้เลือก Radius Server ที่สร้างก่อนหน้านี้แล้วกด OK
กด Apply
ตั้งค่า ACL ( เพื่อ Allow Web ที่จำเป็นสำหรับ Captive Portal )
ไปที่ Menu Security > ACL > User ACL Setting
ACL name : ตั้งชื่อ ACL
ACL number : กำหนดเลข ACL ตั้งแต่ 6000 - 6031
ไปที่ Menu Domain Name Configuration
ใส่ Domain name ตาม list นี้ให้ครบ
เอา ACL ไปไว้ใน SSID Profile ของเรา
Last updated